สารบัญ
อัปเดตข่าว ประกันรายได้ยาง และความสำคัญของพืชเศษฐกิจ
ชวนคิดเรื่องประกันรายได้ยาง มาดูกันว่าผลกระทบโครงการประกันรายได้ยางพาราต่อภาพรวมของประเทศ ไม่ว่าจะเป็นผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมทางสังคมหรือทางเศรษฐกิจหากเจาะลึกลงไปแล้วมีผลกระทบที่เกี่ยวโยงกับเรื่องนี้ที่สำคัญไว้อย่างไรบ้าง พร้อมอัปเดตข่าวประกันราคายางเฟส 4 เรื่องที่ห้ามพลาดเกี่ยวกับเงินเยียวยาเกษตรกรสวนยาง ไม่รอช้าเรามาดูรายละเอียดที่สำคัญกันเลย
รายละเอียดวงเงินโครงการประกันรายได้ยาง
การประกันรายได้ยางมีการอนุมัติโครงการประกันรายได้ยางพารา โดยระบุข้อมูลประกันราคายางล่าสุดจากที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ผ่านมาว่า เงินเยียวยาเกษตรกรสวนยางทั้งหมดเพื่อบรรเทาและเป็นเงินช่วยเหลือเกษตรสวนยางจำนวน 1.6 ล้านราย โดยคิดเป็นสัดส่วนพื้นที่อยู่ที่ 18.18 ล้านไร่ ที่ได้มีการขึ้นทะเบียนประกันราคายางล่าสุด โดยนำมาจากข้อมูลเกษตรที่มีการขึ้นทะเบียน สำนักงานตลาดกลางยางพารา กยท. ภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2565 ที่ผ่านมา เช็คสิทธิประกันรายได้ยางพาราได้ที่ช่องทาง https://www.raot.co.th/gir/index/
ประกันรายได้ยางจ่ายเงินตามจำนวนผู้ลงทะเบียนโครงการ
สำนักงานตลาดกลางยางพารา กยท. แจ้งว่าเงินช่วยเหลือในการจ่ายเงินประกันรายได้ชาวสวนยางจะมีการจ่ายตามจำนวนของผู้ลงทะเบียนโครงการที่มีทั้งหมด ไม่ได้เกี่ยวข้องกับจำนวนมากน้อยของผู้เข้าร่วมโครงการประกันรายได้ยางพารา โดยที่วงเงินโครงการเพื่อการประกันรายได้ยางจะเป็นวงเงินเท่ากันหมด โดยจะดูจากประเภทผลผลิตของยางพารา
ยุคสมัยของราคาการประกันรายได้ยาง เคยสูงสุดเท่าไร ?
ประกันรายได้ยางถือเป็นเรื่องของการบริหารจัดการวงเงินของรัฐบาลที่จะฟื้นฟูเศรษฐกิจและช่วยในการผลักดัน พัฒนาประเทศ โครงการประกันรายได้ยางพาราถือว่าเป็นบทบาทสำคัญในการเชื่อมโยงชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนเกษตรกรชาวสวนยาง ตลอดจนเศรษฐกิจมวลรวมของประเทศ ครั้งหนึ่งประเทศไทยของเราเคยมีเงินประกันรายได้ชาวสวนยางโดยราคาน้ำยางเฉลี่ยบาทต่อกิโลกรัมสูงสุดที่ กิโลกรัมละ 120 บาท โดยเราจะสามารถเช็คสิทธิประกันรายได้ยางพาราตามยุคสมัยของนายกแต่ละท่านที่ผ่านมาในการจัดทำโครงการได้ ดังต่อไปนี้
ยุคสมัยนายก ทักษิณ ชินวัตร มีราคาน้ำยางเฉลี่ยที่ประกันไว้คือ กิโลกรัมละ 100 บาท
ยุคสมัยนายก ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร มีราคาน้ำยางเฉลี่ยที่ประกันไว้คือ กิโลกรัมละ 80-120 บาท
ยุคสมัยนายก อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ มีราคาน้ำยางเฉลี่ยที่ประกันไว้คือ กิโลกรัมละ 36-120 บาท
ยุคสมัยนายก ประยุทธ จันทร์โอชา มีราคาน้ำยางเฉลี่ยที่ประกันไว้คือ กิโลกรัมละ 47-80 บาท
ยุคสมัยนายก ชวน หลีกภัย มีราคาน้ำยางเฉลี่ยที่ประกันไว้คือ กิโลกรัมละ 20-25 บาท
ประกันราคายางล่าสุดในยุคสมัยปัจจุบันจึงไม่ได้เป็นการประกัน ราคาที่สูงมากหรือเรียกได้ว่าเกษตรกรชาวสวนยางได้เสียเปรียบอย่างสูง จากราคาที่ถูกลดมาตรฐานลง แม้ว่ายางพาราจะเป็นพืชเศรษฐกิจระดับสากลก็ตาม
ประกันรายได้ยางส่งผลต่อเศรษฐกิจ
ประกันรายได้ยางในเชิงเศรษฐกิจแน่นอนว่ายางพารานั้นถือว่าเป็นพืชที่มีความสำคัญต่อประเทศไทยอย่างยิ่งเนื่องจากจัดเป็นสินค้าที่ได้รับการส่งออก 1 ใน 10 ของประเทศ ทำให้โครงการประกันรายได้ยางพาราส่งผลต่อเศรษฐกิจมวลรวมของประเทศอย่างแน่นอน เงินประกันรายได้ชาวสวนยางนอกจากจะเป็นการสร้างรากฐานความมั่นคงให้คุณภาพชีวิตของประชาชนเพิ่มสูงมากขึ้น ยังส่งผลต่อการฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศเนื่องจากผลผลิตที่ได้นำไปส่งออกนั้นมีมูลค่าไม่ต่ำกว่าร้อยล้านบาท
ประกันรายได้ยางส่งผลต่อด้านสังคม
เงินเยียวยาเกษตรกรสวนยางในเชิงคุณภาพความเป็นอยู่ของพี่น้องเกษตรกรชาวสวนยางน่านสังคมและวัฒนธรรมก็ได้รับผลกระทบอย่างยิ่งเนื่องจากหากยางมีมูลค่าสูงสามารถขายได้จำนวนมากการสร้างงานก็จะเกิดกับพื้นที่ชนบทหรือต่างจังหวัดมากขึ้นลดโอกาสการจ้างงานหรือส่งแรงงานเข้าสู่ตัวเมืองส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้ระดับประชาชนนั้นยกระดับเพิ่มสูงมากขึ้น โดยเรียกได้ว่าประกันรายได้ยางที่ให้รายได้สูงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพฐานะทางสังคมของประชาชนได้ดี โครงการประกันรายได้ยางพาราจึงเป็นผลกระทบโดยตรงที่ผู้ที่ปลูกยางพารานั้นจะขายได้ในปริมาณเท่าเดิมแต่จะมีรายได้เพิ่มขึ้นหรือลดลงก็ขึ้นอยู่กับเงินเยียวยาเกษตรกรสวนยาง
ประกันรายได้ยางส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมกับเรื่องของการปลูกพืชยางพาราถือเป็นผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมโดยตรง เกษตรกรชาวสวนยางไม่ได้รับผลกระทบโดยตรงในส่วนนี้แต่ต้องยอมรับว่าในเชิงสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมของประเทศไทยมีภูมิทัศน์ที่เปลี่ยนแปลงไป ประกันรายได้ยางอาจจะมาจากนโยบายของรัฐบาลก็จริงแต่สิ่งที่รัฐบาลไม่สามารถควบคุมได้ก็คือการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในเรื่องการปลูกพืชยางพารารวมทั้งการจำกัดพื้นที่หรือการให้ความรู้ในการเพาะปลูกอย่างแท้จริง รวมทั้งเราอาจจะเห็นเรื่องของการบุกรุกพื้นที่ป่าสงวนมีการถางป่าเพิ่มมากขึ้นเพื่อปลูกพืชยางพาราโดยเฉพาะ ยิ่งช่วงไหนที่ยางมีมูลค่าสูงเงินประกันรายได้ชาวสวนยางเยอะ นอกจากจะเป็นตัวกระตุ้นเศรษฐกิจแล้วรัฐก็มองข้ามในเรื่องของปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่ประเทศจะต้องได้รับผลกระทบตามมา อย่างไรก็ตามเราจะเห็นได้ว่าปัจจุบันนั้นก็มีพื้นที่ปลูกยางพาราไม่ได้อยู่แค่ในภาคใต้เท่านั้นแต่ยังกินพื้นที่กระจายเพิ่มมากขึ้นทั่วประเทศ ไม่ว่าจะเป็นภาคตะวันออกหรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เริ่มหันมาเพาะปลูกยางพาราเพิ่มมากขึ้น เช็คสิทธิประกันรายได้ยางพารา ก็จะเห็นว่าผู้ลงทะเบียนนั้นมีที่อยู่หรือพื้นที่ในการเพาะปลูกที่กระจายเพิ่มมากขึ้นปัจจุบันคิดเป็นสัดส่วน พื้นที่เพาะปลูกของประเทศไทยมากกว่า 12 ล้านไร่
อัพเดทวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2567